งานตกแต่งภาพกราฟิก
ความหมายของภาพกราฟิก
กราฟิก หมายถึง
ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ
แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้รับสารต้องการ
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ เช่น การทำตกแต่งภาพที่เรียกว่า Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ เช่น การทำตกแต่งภาพที่เรียกว่า Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ
ประเภทภาพกราฟิก
ภาพกราฟิกแบ่งเป็น 2 ประเภท
ภาพกราฟิกแบบ
2 มิติ
ภาพกราฟิกแบบ
3 มิติ
ภาพกราฟิกแบบ
2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป
เช่น ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน
ภาพกราฟิกแบบ
3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3
มิติ เช่น 3D max, Maya ทำให้ได้ภาพที่มีสีและแสงเงาเหมือนจริง
เหมาะสำหรับการออกแบบและสถาปัตยกรรม เช่น การผลิตรถยนต์
และภาพยนตร์การ์ตูน 3 มิติ
และภาพยนตร์การ์ตูน 3 มิติ
ความรู้เรื่องความละเอียด
พิกเซล ( Pixel)
จุดภาพ หรือ พิกเซล ( pixel) เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล หรือ จุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย
และแต่ละภาพที่สร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนว่าความละเอียด (ความคมชัด)ที่แตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณ์แสดงผลภาพได้
จอภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจำนวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1366 x 768 พิกเซล
คำว่า "พิกเซล" ( pixel) มาจากคำว่า "พิกเจอร์" ( picture) ที่แปลว่า รูปภาพ และ "เอเลเมนต์" ( element) ที่แปลว่า องค์ประกอบ
จุดภาพ หรือ พิกเซล ( pixel) เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล หรือ จุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย
และแต่ละภาพที่สร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนว่าความละเอียด (ความคมชัด)ที่แตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณ์แสดงผลภาพได้
จอภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจำนวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1366 x 768 พิกเซล
คำว่า "พิกเซล" ( pixel) มาจากคำว่า "พิกเจอร์" ( picture) ที่แปลว่า รูปภาพ และ "เอเลเมนต์" ( element) ที่แปลว่า องค์ประกอบ
ความละเอียดในการแสดงผล ( Resolution
)
คำนี้สามารถใช้ได้กับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
เช่น ความละเอียดของการแสดงผลของเครื่องพิมพ์
หรือความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ
ดังนั้นความละเอียดในการแสดงผลจึงหมายถึง จำนวนหน่วยต่อพื้นที่
ความละเอียดของรูปภาพ
จำนวนจุดภาพที่ใช้ประกอบกันเป็นภาพหรือความละเอียดจากการสแกนภาพ
การแสดงภาพได้ละเอียดมากเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับประเภทของจอภาพ VGA
จะแสดงภาพได้ละเอียดน้อยกว่า
SVGAความละเอียดของภาพสามารถบอกเป็นตัวเลขสองจำนวน เช่น ความละเอียดของภาพขนาด1024x768 ซึ่งเมื่อคำนวณออกมาแล้วก็คือจำนวนจุดที่จอภาพสามารถสร้างออกมาได้
ในกรณีนี้เลขจำนวนแรกคือจำนวนจุดในแนวนอนซึ่งเท่ากับ 1024 จุด ตัวเลขจำนวนที่สองคือจำนวนจุดในแนวตั้ง ซึ่งเท่ากับ 768 จุด
SVGAความละเอียดของภาพสามารถบอกเป็นตัวเลขสองจำนวน เช่น ความละเอียดของภาพขนาด1024x768 ซึ่งเมื่อคำนวณออกมาแล้วก็คือจำนวนจุดที่จอภาพสามารถสร้างออกมาได้
ในกรณีนี้เลขจำนวนแรกคือจำนวนจุดในแนวนอนซึ่งเท่ากับ 1024 จุด ตัวเลขจำนวนที่สองคือจำนวนจุดในแนวตั้ง ซึ่งเท่ากับ 768 จุด
ความละเอียดของจอภาพ
หมายถึง หน่วยของจำนวนจุดที่มากที่สุดที่จอคอมพิวเตอร์สามารถผลิตได้
โดยความละเอียดในการแสดงผลของจอ จะขึ้นกับวีดีโอการ์ด ที่เรียกว่าการ์ดจอ
ซึ่งจะมีความสามารถในการแสดงผล
หลากหลาย เช่น แสดงผลที่ความละเอียด 800 x 600 พิกเซล หมายถึง จำนวนพิกเซลในแนวนอน เท่ากับ 800 และจำนวนพิกเซลในแนวตั้ง เท่ากับ 600
หลากหลาย เช่น แสดงผลที่ความละเอียด 800 x 600 พิกเซล หมายถึง จำนวนพิกเซลในแนวนอน เท่ากับ 800 และจำนวนพิกเซลในแนวตั้ง เท่ากับ 600
ภาพ 3 มิติ
ภาพ3
มิติ คือ ภาพที่มีการแสดงรูปทรง ความกวาง
ความยาว ความสูง และความลึก มีลักษณะภาพแสดงปริมาตรของสิ่งที่อยู่ในภาพนั้นๆ
ภาพ3 มิติที่ใช้ในการเขียนแบบ
มีด้วยกัน 4 ชนิด คือ
1.ภาพออบบลิก(OBLIQUE)
-
โครงร่างของภาพประกอบด้วยสามเส้นคือ เส้นแนวนอน เส่นแนวดิ่ง และเส้นเอียง45องศา
- ความกว้างและสูงมีขนาดเท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วน ส่วนความลึกจะมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริง
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างของภาพ OBLIQUEสามารถใช้ไม้บรรทัดทั่วๆไป หรือไม้บรรทัดมุม45ได้ จึงเขียนได้ง่าย
- มีรูปร่างไม่ค่อยหมือนจริงแต่ใช้ พท.ในการเขียนน้อยเพระมีขนาดความลึกเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริง
- ความกว้างและสูงมีขนาดเท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วน ส่วนความลึกจะมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริง
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างของภาพ OBLIQUEสามารถใช้ไม้บรรทัดทั่วๆไป หรือไม้บรรทัดมุม45ได้ จึงเขียนได้ง่าย
- มีรูปร่างไม่ค่อยหมือนจริงแต่ใช้ พท.ในการเขียนน้อยเพระมีขนาดความลึกเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริง
2.ภาพไดเมตริก(DIMETRIC)
-
โครงสร้างประกอบด้วยสามเส้นคือ เส้นเอียง 7 องศา เส้นแนวดิ่ง และเส้นเอียง 42 องศา
- ขนาดความกว้าง สูง เท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วนความลึกจะมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริงเหมือน OBLIQUE
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างมีการใช้เส้นทำมุม 7 องศาและ 42 องศา จึงต้องใชไม่บรรทัดปรับมุม
- โครงสร้างภาพดูเหมือนจริงกว่า OBLIQUE
- ขนาดความกว้าง สูง เท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วนความลึกจะมีขนาดเพียงครึ่งหนึ่งของขนาดจริงเหมือน OBLIQUE
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างมีการใช้เส้นทำมุม 7 องศาและ 42 องศา จึงต้องใชไม่บรรทัดปรับมุม
- โครงสร้างภาพดูเหมือนจริงกว่า OBLIQUE
3.ภาพไอโซเมตริก(ISOMETRIC)
- โครงสร้างประกอบด้วยสามเส้นคือ
เส้นเอียง30องศาสองเส้น และเส้นแนวดิ่ง
- ขนาดความกว้าง สูง และลึกเท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วน
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างมีการใช้เส้นทำมุม30องศาและทำให้กิน พท.ในการเขียนมาก แต่สามารถเขียนได้ง่าย
- ขนาดความกว้าง สูง และลึกเท่าของจริงโดยวัดเป็นอัตราส่วน
- ขอบของชิ้นงานที่ถูกบังหรือมองไม่เห็น จะเขียนแทนด้วยเส้นประ
- โครงสร้างมีการใช้เส้นทำมุม30องศาและทำให้กิน พท.ในการเขียนมาก แต่สามารถเขียนได้ง่าย
4.ภาพเพอร์สเปกทีฟ
(PERSPECTIVE)
-
โครงสร้างประกอบด้วยสามเส้นคือ เส้นเอียงสองเส้น และเส้นเส้นแนวดิ่ง
- มีจุดปลายสายตาที่มองเห็น เรียกว่า VINISHING POINT (VP) ตั้งแต่ 1 - 3 จุด
- มีความเหมือนจริง ใช้มากในงานสถาปัตยกรรม
- มีจุดปลายสายตาที่มองเห็น เรียกว่า VINISHING POINT (VP) ตั้งแต่ 1 - 3 จุด
- มีความเหมือนจริง ใช้มากในงานสถาปัตยกรรม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น